ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล จากภาครัฐ ผิด PDPA อย่างไร ร้องเรียนอย่างไรบ้าง ?

ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล จากภาครัฐ ผิด PDPA อย่างไร ร้องเรียนอย่างไรบ้าง ?

หน่วยงานภาครัฐประมาทเลินเล่อจนทำให้ ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล และมีผู้ไม่หวังดีนำไปใช้ในทางมิชอบ ผิดกฎหมาย PDPA อย่างไร? และเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะมีขั้นตอนอย่างไรในการฟ้องร้อง หรือร้องเรียนกับใครได้บ้าง? สืบเนื่องจากเหตุการณ์ข้อมูลส่วนบุคคลของคนไทยกว่า 55 ล้านคนเกิดการรั่วไหล จากฝีมือการแฮ็กของแฮ็กเกอร์นาม 9Near ที่ขโมยข้อมูลส่วนบุคคลไปขายบนดาร์กเว็บ และมีการข่มขู่ผ่านสื่อมวลชนว่าหากไม่จ่ายค่าไถ่ข้อมูลจะทำการปล่อยข้อมูลออกไป อาจทำให้ผู้ที่มีความกังวลกลัวว่าข้อมูลส่วนบุคคลของตนจะรั่วไหลโดยคิดว่าเมื่อภาครัฐเป็นผู้ทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหลเสียเองจะมีความผิดหรือไม่ และผิดอย่างไร? แล้วจะสามารถฟ้องร้องเพื่อให้ชดเชยความเสียหายได้หรือไม่ ครั้งนี้ Security Pitch จะพาไปทำความเข้าใจในเรื่องข้อกฎหมาย PDPA ที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น ข่าวที่เกี่ยวข้อง – กระแสสังคมจ่อฟ้อง PDPA เอาผิดหน่วยงานหลังแฮ็กเกอร์ขู่ แฉ ข้อมูลส่วนบุคคล คนไทย 55 ล้านคน ก่อนที่จะทราบว่าการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลนั้นจะผิดตามกฎหมายอย่างไร ก็อาจต้องทำความเข้าใจว่า ไม่ว่าข้อมูลส่วนบุคคลแบบใดรั่วไหลออกไปยังสาธารณะ หรือมีการนำไปใช้ในทางมิชอบ และผิดวัตถุประสงค์ องค์กรนั้น…

 หากมิจฉาชีพได้ ข้อมูลส่วนบุคคล ของเราไป อาจเสี่ยงถึงขั้นเงินหายหมดบัญชี !

หากมิจฉาชีพได้ ข้อมูลส่วนบุคคล ของเราไป อาจเสี่ยงถึงขั้นเงินหายหมดบัญชี !

แค่ ข้อมูลส่วนบุคคล รั่วไหลก็แย่แล้ว หากข้อมูลส่วนบุคคลเหล่านี้ตกไปอยู่ในมือมิจฉาชีพอีก ก็ยิ่งเสี่ยง จนอาจเป็นภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน แต่จะป้องกันอย่างไร? ไม่ให้ข้อมูลถูกนำไปใช้ในทางมิชอบ ปัญหาการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความประมาทเลินเล่อของตัวบุคคล หรือเกิดจากช่องโหว่ของระบบเครือข่ายที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ทำให้แฮ็กเกอร์ และมิจฉาชีพสามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นได้ ดังเช่นเหตุการณ์ล่าสุดที่กลายเป็นกระแสไปทั่วประเทศ เมื่อมีการเปิดเผยว่ามีข้อมูลส่วนบุคคลของคนไทยกว่า 55 ล้านคน ถูกแฮ็กเกอร์ขโมยออกไปขายในดาร์กเว็บ และยังได้มีการข่มขู่ว่าหากไม่ได้เงินสกุลดิจิทัลจากภาครัฐ เป็นค่าไถ่ข้อมูล จะทำการปล่อยข้อมูลทั้งหมดเพื่อเป็นการตอบโต้ อ่านเพิ่มเติม – กระแสสังคมจ่อฟ้อง PDPA เอาผิดหน่วยงานหลังแฮ็กเกอร์ขู่ แฉ ข้อมูลส่วนบุคคล คนไทย 55 ล้านคน จากเหตุการณ์ดังกล่าวได้สร้างความกังวลใจให้กับผู้คนอยู่ไม่น้อย เพราะการรั่วไหลของข้อมูลดังกล่าว ไม่ใช่แค่การถูกนำข้อมูลส่วนบุคคลที่ควรเป็นความลับมาเปิดเผย แต่ยังเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพหาผลประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ได้ โดยเฉพาะข้อมูลส่วนบุคคล อย่าง เบอร์โทรศัพท์ รหัสประจำตัวประชาชน…

 เว็บไซต์ลับ ปล่อยข้อมูล บัตรเครดิต ให้ดาวน์โหลดฟรีกว่า 7 แสนรายการ

เว็บไซต์ลับ ปล่อยข้อมูล บัตรเครดิต ให้ดาวน์โหลดฟรีกว่า 7 แสนรายการ

#PDPACase | เว็บไซต์ลับ ปล่อยข้อมูลบัตรเครดิตให้ดาวน์โหลดฟรีกว่า 7 แสนรายการ นักวิเคราะห์เผยเว็บไซต์ลับแห่งหนึ่งปล่อยข้อมูล บัตรเครดิต 7 แสนกว่ารายการที่ถูกขโมยมาให้ผู้ใช้งานดาวน์โหลดไปใช้ได้ฟรี ๆ เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 1 ปี ของการเปิดเว็บไซต์  เว็บไซต์ Techradar เผยข้อมูลสำคัญจากนักวิจัยด้านความปลอดภัยพบว่า เว็บไซต์ลับที่มีชื่อว่า dodgy marketplace ได้นำข้อมูลบัตรเครดิตที่ขโมยมาจากผู้ใช้งานบัตรเครดิตทั่วโลกเกือบ 7 แสนรายการ ที่ปกติต้องทำการซื้อขาย มาเปิดให้ดาวน์โหลดได้ฟรี เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองการเปิดเว็บไซต์ ครบ 1 ปี โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ว่า การที่เว็บไซต์ออกมาปล่อยข้อมูลบัตรเครดิตแบบนี้อาจไม่ใช่เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับผู้ใช้งานเว็บไซต์งานเท่านั้น แต่ยังอาจเป็นการโฆษณาเว็บไซต์เพื่อให้คนรู้จักเว็บไซต์ดังกล่าวมากขึ้น เพื่อที่จะสร้างรายได้เพิ่มในอนาคต ทั้งนี้จากการเปิดเผยของนักวิเคราะห์พบว่า ชุดข้อมูลที่ถูกปล่อยออกมานั้นประกอบด้วยข้อมูลบัตรเครดิตมากกว่า 740,858 รายการ และมีข้อมูลของบัตรเครดิตแบบ Charge…

 ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร? สรุปแบบเข้าใจง่าย

ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร? สรุปแบบเข้าใจง่าย

#PDPAKnowledge | ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร? สรุปแบบเข้าใจง่าย ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นคำที่ได้ยินบ่อยมากขึ้นหลังจากมีการบังคับใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2565 ที่ผ่านมา แต่ก็มีหลาย ๆ คนที่ยังไม่ทราบ หรือไม่แน่ใจว่าข้อมูลส่วนบุคคลนั้นคืออะไร และมีขอบเขตแค่ไหน OneFence จึงขอนำความหมาย และขอบเขตของข้อมูลส่วนบุคคลมาสรุปให้เข้าใจอย่างง่าย ๆ เพื่อให้คุณสามารถได้เรียนรู้ และระมัดระวังการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลมากขึ้น ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มาตรา 6 ได้นิยามความหมายของข้อมูลส่วนบุคคลไว้ว่า “ข้อมูลส่วนบุคคล หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ” โดยข้อมูลส่วนบุคคลในที่นี้ แบ่งออกเป็นทั้งหมด…